พระไตรปิฎกวิเคราะห์
๑. คำว่า “พระไตรปิฎก” คืออะไร หมายความว่าอย่างไร จำเป็นอย่างไร จำเป็นอย่างไรจึงต้องศึกษา ?
ตอบ ความหมายของพระไตรปฎก[1] ตามรูปศัพท คําวา “พระไตรปฎก” แยกศัพทออกเปน
พระ + ไตร + ปฎก คําวาพระเปนคํายกยอง แปลวา ประเสริฐ คําวา ไตร ในภาษาบาลีใชคําวา ติ ซึ่งแปล วา สาม คําวา ปฎก แปลได ๒ นัย คือ[2]
๑. หมายถึง ภาชนะ เชน ตะกรา เปนตน ดังประโยคบาลีวา “อล ปุริโส อาคจฺเฉยฺย กุทฺทาลปฎกมาทาย” แปลวา คราวนั้น บุรุษคนหนึ่งไดถือจอบและตะกรามา
๒. หมายถึง คัมภีร หรือตํารา ดุจในประโยคบาลีในกาลามสูตรวา มา ปฎกสมฺปาเทน แปลวา ทานอยาเชื่อเพียงเพราะอางตําราหรือคัมภีร์
ดังนั้น พระไตรปฎก จึงหมายถึงคัมภีรหรือตําราที่รวบรวมคําสั่งสอนของพระพุทธเจาไวเปนหมวดหมูไมใหกระจัดกระจาย คลายกระจาดหรือตะกราอันเปนภาชนะสําหรับใสของฉะนั้น
จำเป็นอย่างไร[3] จำเป็นเพราะว่าศาสนาทุกศาสนาในปจจุบัน มีคัมภีรหรือตําราทางศาสนาเปนหลักในการสั่งสอน แมวาแตเดิมจะมิไดมีการขีดเขียนเปนตัวอักษรก็ตาม แตเมื่อมนุษยไดมีการพัฒนาทางดานการพิมพ คัมภีรทางศาสนาจึงไดรับการพิมพดวยเชนกัน พระไตรปฎกก็เปนคําภีรหลักในพระพุทธศาสนาดุจคัมภีรไบเบิลของศาสนาศริสต์ คัมภีรอัลกุรอานในศาสนาอิสลาม และคัมภีรพระเวทของศาสนาพราหมณ
จำเป็นอย่างไรจึงต้องศึกษา เพื่อที่จะไดรับจากการศึกษา เรียนรูพระพุทธศาสนา จึงเปนกิจยิ่งสำคัญของเราชาวพุทธ ถือวาเปนการสืบตออายุพระพุทธศาสนา หรือเปนความดํารงอยูของพระพุทธศาสนากลาวคือ ถายังมีการศึกษาคนควาพระไตรปฎกเพื่อนํ าไปปฏิบัติ พระพุทธศาสนาก็ยังคงดํารงอยูแตถาไมมีการศึกษา คนควา พระไตรปฎก แมจะมีการปฏิบัติ ก็จะไมเปนไปตามหลักการของพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาก็จะไมดํารงอยู คือ จะเสื่อมสูญไปนอกจากเราจะไดรับประโยชนในทางศาสนาโดยตรงแลว พระไตรปฎกยังมีคุณคาที่จำเป็นและสําคัญในดานอื่น ๆ อีกมากมายโดยเฉพาะ
๑. เปนที่บันทึกหลักฐานเกี่ยวกับลัทธิความเชื่อถือ ศาสนา ปรัชญา ขนบธรรมเนียม
ประเพณี วัฒนธรรม เรื่องราว เหตุการณ และ ถิ่นฐาน เชน แวนแควนตาง ๆ ในยุคอดีตไวเปนอันมาก
๒. เปนแหลงที่จะสืบคนแนวคิดที่สัมพันธกับวิชาการตาง ๆ เนื่องจากคํ าสอนในพระธรรมวินัย
มีเนื้อหาสาระเกี่ยวโยง หรือครอบคลุมถึงวิชาการหลายอยาง เชน จิตวิทยา กฎหมาย การปกครอง เศรษฐกิจ เปนตน
๓. เปนแหลงเดิมของศัพทบาลี ที่นํ ามาใชในภาษาไทย เนื่องจากภาษาบาลีเปนรากฐานสําคัญ
ของภาษาไทยการคน การคนควาพระไตรปฎก จึงมีอุปการะพิเศษแกการศึกษาภาษาไทยเปนอยางมาก
รวมความวา การศึกษาคนควาพระไตรปฎก มีคุณคาสํ าคัญไมเฉพาะแตในการศึกษาทางพระพุทธศาสนาเทานั้น แตอํานวยประโยชนทางวิชาการในดานตาง ๆ มากมาย เชน ภาษาไทย ภูมิศาสตร ประวัติศาสตร์ มานุษยวิทยา โบราณคดี รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ นิติศาสตร ศึกษาศาสตร์ ศาสนา ปรัชญา และจิตวิทยา เปนตน
๒. คำว่า “จากพระธรรมวินัย สู่ความเป็นพระไตรปิฎก” นั้น หมายความว่าอย่างไร มีเหตุ – ผล อะไรจึงกล่าวอย่างนั้น ?
ตอบ ขอความดังกลาว หมายถึงการเรียกพระวินัย พระสูตร และพระอภิธรรม ไดมีมานาน
แลว แตยังไมแยกชัดออก เปนพระวินัยปฎก พระสุตตันตปฎก พระอภิธรรมปฎก อยางที่ปรากฎในยุคตั้งแตสังคายนาครั้งที่สาม เปนตนมา ดังบาลีวา[4] เตปฎ กํ พุทฺธวจนํ นาม พุทฺธสฺส ภควโต ธมฺม วินยสฺส สโมธานํ โหติ แปลวา พระพุทธพจน คือ พระไตรปฎก เปนที่รวบรวมแหงพระธรรมวินัย
ขององคภควันตพุทธเจา
ธรรม คือ หลักคําสอนวาดวยความจริงของสิ่งทั้งหลาย พรอมทั้งขอประพฤติปฏิบัติที่พระพุทธเจาทรงแนะนําตรัสไ ว โดยสอด คลองกับความจริงนั้นๆ
วินัย คือ การประมวลพุทธบัญญัติที่เกี่ยวกับหลักเกณฑตาง ๆ ในการเปนอยูหรือกฎระเบียบต่างๆ ของพระสงฆ ที่จะดํารงไว้ ซึ่งภาวะอันเกื้อหนุนใหภิกษุและภิกษุณีประพฤติปฏิบัติตามธรรมนั้นอย่างไดผลดี และรักษาพระศาสนาไวได ดวยเหตุนี้จึงเรียกพุทธศาสนา อยางสั้นวา “ธรรมวินัย”
เหตุ – ผล เมื่อศึกษาความหมายของธรรมวินัย จากพจนานุกรมของนักปราชญทั้งหลายแลว จึงพอจะประมวลกลาวไดดังนี้
ธรรม หมายถึง คําสอนของพระพุทธเจา ในสวนที่เปนหลักประพฤติปฏิบัติ เชน หลักกรรม เปนตน พระพุทธเจาทรงแสดงธรรมตั้งแตงายที่สุด ไปจนถึงยากที่สุด ตั้งแตตื้นที่สุด จนถึงลึกที่สุด ธรรมะดังกลาวแลวทั้งเบื้องตน ทามกลาง และที่สุด เปนหลักคําสอนที่มีอรรถะพยัญชนะ บริบูร ณ บริสุท ธิ์ เปนความประพฤติอันประเสริฐ ดังมีปรากฏในคําทําวัตรเชา อันเปนพระราชนิพนธของพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัววา โย ธมฺ มํ เทเสสิ อาทิกลฺยา ณํ ปริโยสานกลฺยาณํท สาตฺ ถํ สพพยฺช นํ เกวลปริปุณฺ ณํ ปริสุท ธํ พรฺหมจริ ยํ ปกาเสสิ. คําสอนในลักษณะเชนนี้ไมใชกฎระเบียบอันเปนขอบังคับ ขอหามสําหรับพุทธบริษัท หากเปนคําสอนที่พุทธบริษัทควรจะ ประพฤติปฏิบัติตาม ผูใดประพฤติตามหลักธรรม ผูนั้นยอมไดรับผลแหงการประพฤตินั้น ผลแหงการปฏิบัติธรรมยอมไมไปตกแกผูอื่นที่ ไมปฏิบัติ พระพุทธเจาเปนเพียงผูชี้แนะบอกทางใหเทานั้น ดังมีหลักฐานปรากฏในพระบาลีวา อกฺขาโร ตถาคโต แปลวา พระตถาคต เปนเพียงผูชี้บอก
วินัย หมายถึง คําสั่งสอนของพระพุทธเจา ในสวนที่เปนกฎระเบียบ ขอหาม ขอบังคับ สําหรับพุทธบริษัท เชน ขอบัญญัติทางวินัยใหภิกษุทั้งหลายลงฟงการสวดปาฏิโมกข ( ศีลของพระภิกษุ ๒๒๗ ขอ ) ทุกๆ กึ่งเดือนหรือ ๑๕ วัน ถาขาดโดยไมมีเหตุผล ควรตองปรับอาบัติ ( อาบัติ หมายถึงขอผิดพลาดหรือความผิดในการละเมิดขอวินัยที่พระพุทธเจาทรงบัญญัตไว )
๓. ที่กล่าวว่า “จากมุขปาฐะ สู่การจารึกลงใบลาน” นั้น หมายความว่าอย่างไร และมีประวัติความเป็นมาอย่างไร ?
ตอบ ถ้าแบงยุคประวัติวรรณคดีบาลี ถายึดถือกฎเกณฑดังกลาวพอจะแบงออกเปนยุคตางๆ เชน
๑. ยุคธรรม – วินัย หมายถึงยุคพุทธกาล[5] กลาวคือยุคที่พระพุทธเจาทรงพระชนมอยู พระองคทรงประกาศคําสั่งสอนของพระองคที่เรียกวา ธรรมวินัยบาง พุทธพจนบาง แกพุทธบริษัททั้งหลาย ยุคนี้เริ่มตั้งแตพระพุทธเจาตรัสรู แสดงปฐมเทศนา จนถึงพระองคปรินิพพาน รวมเวลา ๔๕ พรรษา พระองคทรงแสดงธรรมวินัยดวยมุขปาฐะ กลาวคือทรงแสดงธรรมดวยปากเปลา อันเปนประเพณี
นิยมกันในสมัยนั้น ศาสนาอื่นๆ ในยุคนั้น ก็นิยมประเพณีนี้ดวย สาวกของพระองคในยุคนี้ก็จดจําหมดธรรม หมวดวินัยไดอยางแมนยํา เชน การสวดปาฏิโมกขในทามกลางชุมนุมสงฆและเทศนสั่งสอนประชาชน ดวยวิธีมุขปาฐะ จนเปนเหตุใหเกิดมีสํานักของพระสาวกที่มีชื่อเสียงในดานทรงจําหมวดธรรมวินัย ดังปรากฏในประประวัติพระพุทธศาสนาและประวัติพระสาวกองคนั้นๆ แลว
๒. ยุคพระไตรปฎก หมายถึงยุคที่พระสาวกองคสําคัญๆ ของพระพุทธเจาผูเปนพระอริยบุคคลชั้นพระอรหันต เชน พระมหากัสสปเถระ ไดประชุมสงฆรวบรวมรอยกรองพระธรรมวินัย ใหเปนหมวดหมู มีรูปแบบเดียวกัน เรียกวา การทําสังคายนา ในยุคนี้เริ่มตั้ง แตหลังพุทธปรินิพพาน จนถึงการทําสังคายนาครั้งที่ ๓ รวมถึงผลของการทําสังคายนาครั้งที่ ๓ ดวยประมาณ พ.ศ. ๒๓๕ ป ในยุคนี้ยังไมไดเขียนพระไตรปฎกลงเปนลายลักษณอักษร เพียงเพื่อจดจําดวยมุขปาฐะ เทานั้น
๓. ยุคหลังพระไตรปฎก หมายถึงยุคที่พระสงฆสาวกไดแตงคัมภีรอธิบาย ขยายความในพระไตรปฎกใหพิสดารออกไป เพื่อที่จะใหผูไดศึกษาและผูสนใจในธรรมะไดเกิดความเขาใจงายขึ้น
๔. ท่านเข้าใจอย่างไรกับคำว่า “ ดูก่อนอานนท์ พระธรรมวินัยที่ตถาคตได้แสดงแล้ว บัญญัติขึ้นแล้วนั่นแล จะเป็นศาสดาของพวกเธอทั้งหลาย โดยการล่วงไปแห่งเรา ?
อานนท์ เมื่อเราล่วงลับไปแล้ว ภิกษุไม่ควรเรียกกันและกันด้วยวาทะว่า อาวุโส เหมือนดังที่เรียกกันตอนนี้ ภิกษุผู้แก่กว่าพึงเรียกภิกษุผู้อ่อนกว่า โดยชื่อหรือตระกูล โดยวาทะ อาวุโส ก็ได้ ภิกษุผู้อ่อนกว่าพึงเรียกภิกษุผู้แก่กว่าว่า ภันเต หรือ อายัสมา ก็ได้ อานนท์ เมื่อเราล่วงลับไป ถ้าสงฆ์ปรารถนาจะถอนสิกขาบทเล็กน้อยเสียบ้างก็ได้ อานนท์ เมื่อเราล่วงลับไป สงฆ์พึงลงพรหมทัณฑ์แก่ภิกษุฉันนะ
พระอานนท์ทูลถามว่า พรหมทัณฑ์ เป็นอย่างไร พระพุทธเจ้าข้า พระพุทธเจ้าตรัสตอบว่า อานนท์ ภิกษุฉันนะพึงพูดได้ตามต้องการ แต่ภิกษุไม่พึงกล่าวตักเตือนพร่ำสอนเธอ[6]
๕. การท่องจำ ( มุขปาฐะ ) มีประโยชน์อย่างไร ? ทำไมจึงเป็นที่นิยมกันมากในพุทธกาล ?
เพราะการท่องจำนี้นิยมใช้กันมากในสมัยพุทธกาล การพร่ำสอนในครั้งนั้นยังเป็นการให้ท่องจำอยู่ก่อนแล้ว แม้แต่พระพุทธเจ้าก็ยังให้พระจูฬลปัณถกท่องจำและในที่สุดก็ได้บรรลุพระอรหันต์ในที่สุด เป็นประโยชน์อย่างมากเพราะพระภิกษุในสมยัพุทธกาลอาจจะเขียนหนังสือยังไม่ได้ต้องอาศัยการท่องจำ โดยยึดถือเอาแบบอย่างครูอาจารย์ที่ตนเองเข้าไปศึกษาอยู่ในแต่ละสำนัก และอีอย่างก็ยังเป็นการแสดงออกถึงเสียงของแต่ละบุคคลอีกด้วยว่าออกเสียงถูกหรืออกเสียงผิด เสียงหนักเสียงเบาไปหรือไม่ ก็คงจะเป็นการแก้ไขได้ง่าย
พระโสณะโกฏิกัณณะ ได้สวดธรรมเป็นหมวดที่แปดรวม ๑๖ ครั้งด้วยทำนองสรภัญญะถวายพระพุทธเจ้า พระพุทธองค์ทรงประทานสาธุการว่า จำได้ดี กล่าวด้วยวาจาสละสลวย ได้เนื้อถ้อยกระทงความ ( ขุททกนิกาย อุทานวรรค ) ข้อนี้แสดงว่า พระพุทธองค์ทรงเห็นความสำคัญของการทรงจำด้วยมุขปาฐะฯ
ดังนั้นจึงเป็นเหตุผลหนึ่งซึ่งเป็นที่นิยมกันมากในสมัยพุทธกาล
๖. ถามว่า เพราะเหตุใดจึงมีการจารึกคำสอนของพระพุทธเจ้าลงในใบลาน ซึ่งเมื่อก่อนไม่นิยม จงชี้แจง ?
พระธรรมวินัยนั้นได้ถูกถ่ายทอดมาด้วยการท่องจำ ที่เรียกว่า มุขปาฐะ วึ่งพระเถระที่มีบทบาทเป็นสำคัญในการสืบทอดพระพุทธศาสนาล้วนเป็นพระอรหันต์ทั้งสิ้น การจำหลักธรรมคำสอนจึงสามารถรักษาความบริสุทธิ์ คือ มีความหมายและเป็นไปตามพุทธประสงค์ที่ทรงสอน แต่เมื่อกาลเวลาล่วงเลยผ่านไปนานา ๆ การถ่ายทอดพระธรรมวินัยก็เปลี่ยนไปตามกาลเวลาด้วย จากที่เคยทรงจำและถ่ายทอดกันด้วยระบบปากต่อปากหรือการท่องจำ ก็เปลี่ยนเป็นการบันทึกลงในใบลานเป็นเอกสารง่ายต่อการรักษาดูแลและเป็นหลักฐานอีกด้วย
การบันทึกลงในใบลานนั้นเป็นการวางแผนระยะไกลเป็นแนวทางแก่การศึกษาของผู้ที่เกิดความศรัทธาได้ศึกษาค้นคว้าได้ง่ายขึ้น และอีกอย่างก็เป็นการรักษาหลักธรรมเอาไว้ได้นานอีกด้วย
[1] เสถียรพงษ์ วรรณปก คำบรรยายพระไตรปิฎก (กรุงเทพ ฯ : ธรรมสภาและสถาบันบันลือธรรม, ๒๕๔๓ พิมพ์ครั้งที่ ๒ )หน้า ๑.
[2] มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกศึกษา CD-ROM , (กรุงเทพมหานคร.)
[3] เสถียรพงษ์ วรรณปก (อ้างแล้วเรื่องเดียวกัน)
[4] มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกศึกษา CD-ROM , (กรุงเทพมหานคร.)
[5] มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกศึกษา CD-ROM , (กรุงเทพมหานคร.)
[6] มหาปรินิพพานสูตร : ที.ม.(ไทย) ๑๐/๒๑๖/๑๖๔